📍สถานศึกษาที่จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ระดับ ปวส. มากกว่าร้อยละ 25 และมีจํานวนผู้เรียนระบบทวิ ภาคี ระดับ ปวส. เพิ่มขึ้นมากที่สุด ได้แก่ วิทยาลัยการอาชีพอัมพวา
🌟 เลขาธิการ ยศพล มอบโล่รางวัล ผู้ขับเคลื่อนด้านการขยายและยกระดับความร่วมมือระบบทวิภาคี ในรูปแบบความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน (Public - Private - Partnership : PPP)
นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นประธานมอบโล่ยกย่องเชิดชูเกียรติ การขับเคลื่อนการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ประจําปีงบประมาณ 2567 ผู้ขับเคลื่อนด้านการขยายและยกระดับความร่วมมือระบบทวิภาคี ในรูปแบบความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน (Public - Private - Partnership : PPP)
🔸ภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร : จ่าสิบเอก สมพร ชูทอง ผู้อํานวยการสถาบันการอาชีวศึกษา กรุงเทพมหานคร
🔸ภาคเหนือ : นายจักรภพ เนวะมาตย์ ผู้อํานวยการวิทยาลัยเทคนิคตาก
🔸ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : นายอาคม จันทร์นาม ผู้อํานวยการวิทยาลัยเทคนิคร้อยเอ็ด
🔸ภาคใต้ : นายวิทยา เกตุชู ผู้อํานวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาภูเก็ต
🔸ภาคกลาง : นายสมจิตต์ ศรีสมพันธุ์ อดีตผู้อํานวยการวิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี
📍สถานศึกษาที่มีการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนทวิภาคี ในระดับปวส.มากที่สุด
♦️พื้นที่นําร่อง 28 จังหวัดและกรุงเทพมหานคร จํานวน 3 กลุ่ม แบ่งตามขนาดสถานศึกษา ดังนี้
🔸กลุ่มที่ 1 สถานศึกษาที่ไม่มีผู้เรียนระบบทวิภาคี ระดับ ปวส. ดําเนินการอย่างน้อย 1 สาขา
-สถานศึกษาขนาดเล็ก ได้แก่ วิทยาลัยสารพัดช่างเชียงใหม่
🔸กลุ่มที่ 2 สถานศึกษาที่จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเพิ่มสัดส่วนผู้เรียน ระดับ ปวส. ร้อยละ 25
-สถานศึกษาขนาดเล็ก ได้แก่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิจิตร
-สถานศึกษาขนาดกลาง ได้แก่ วิทยาลัยการอาชีพชุมพวง
-สถานศึกษาขนาดใหญ่ ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิคปากช่อง
🔸กลุ่มที่ 3 สถานศึกษาที่จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ระดับ ปวส. ร้อยละ 100 คงไว้ร้อยละ 100 -สถานศึกษาขนาดเล็ก ได้แก่ วิทยาลัยสารพัดช่างภูเก็ต
-สถานศึกษาขนาดกลาง ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิคสันกําแพง
-สถานศึกษาขนาดใหญ่ ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิคบ้านค่าย
♦️พื้นที่จังหวัดอื่นๆ 48 จังหวัด จํานวน 3 กลุ่ม แบ่งตามขนาดสถานศึกษา ดังนี้
🔸กลุ่มที่ 1 สถานศึกษาที่จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ระดับ ปวส. ต่ํากว่าร้อยละ 25
-สถานศึกษาขนาดเล็ก ได้แก่ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชัยนาท
-สถานศึกษาขนาดกลาง ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิคยะลา -สถานศึกษาขนาดใหญ่ ได้แก่ วิทยาลัยการอาชีพท่าตูม
🔸กลุ่มที่ 2 สถานศึกษาที่จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ระดับ ปวส. มากกว่าร้อยละ 25
สถานศึกษาขนาดเล็ก ได้แก่ วิทยาลัยสารพัดช่างสุรินทร์
สถานศึกษาขนาดกลาง ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิคระนอง
สถานศึกษาขนาดใหญ่ ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิคสุรินทร์
🔸กลุ่มที่ 3 สถานศึกษาที่จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ระดับ ปวส. ร้อยละ 100 คงไว้ร้อยละ 100 -สถานศึกษาขนาดเล็ก ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวง
-สถานศึกษาขนาดกลาง ได้แก่ วิทยาลัยการอาชีพบางแก้วฟ้า (หลวงพ่อเปิ่นอุปถัมภ์)
📍สถานศึกษาในกลุ่มพื้นที่เข้มข้น ที่มีจํานวนผู้เรียนทวิภาคี ระดับ ปวส. เพิ่มขึ้นมากที่สุด ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิค ระยอง
📍สถานศึกษาที่จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ระดับ ปวส. ต่ํากว่าร้อยละ 25 และมีจํานวนผู้เรียนระบบทวิ ภาคี ระดับ ปวส. เพิ่มขึ้นมากที่สุด ได้แก่ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี
📍สถานศึกษาที่จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ระดับ ปวส. มากกว่าร้อยละ 25 และมีจํานวนผู้เรียนระบบทวิ ภาคี ระดับ ปวส. เพิ่มขึ้นมากที่สุด ได้แก่ วิทยาลัยการอาชีพอัมพวา
📍สถานศึกษาที่มีการบริหารจัดการงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีโดยใช้ระบบฐานข้อมูลการจัดการอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี (DVE DATA) ในระดับดีเยี่ยม
🔸สถานศึกษาขนาดเล็ก ได้แก่ กาญจนาภิเษกวิทยาลัยช่างทองหลวง วิทยาลัยสารพัดช่างนครศรีธรรมราช และ วิทยาลัยการอาชีพกาฬสินธุ์
🔸สถานศึกษาขนาดกลาง ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิคเลิงนกทา วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี
และ วิทยาลัยการอาชีพบางแก้วฟ้า (หลวงพ่อเปิ่นอุปถัมภ์)
🔸สถานศึกษาขนาดใหญ่ ได้แก่ วิทยาลัยการอาชีพฝาง วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี และวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่
📍สถานศึกษาที่มีการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน ในการพัฒนาครูนิเทศก์ ในระดับ ดีเยี่ยม
🔸สถานศึกษาขนาดเล็ก ได้แก่ วิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล วิทยาลัยการอาชีพศรีสําโรง และวิทยาลัยการอาชีพสองพี่น้อง
🔸สถานศึกษาขนาดกลาง ได้แก่ วิทยาลัยการอาชีพบางแก้วฟ้า (หลวงพ่อเปิ่นอุปถัมภ์) วิทยาลัยเทคนิครัตนบุรี และวิทยาลัยอาชีวศึกษาร้อยเอ็ด
🔸สถานศึกษาขนาดใหญ่ ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิคเขมราฐ วิทยาลัยเทคนิคแม่สอด และวิทยาลัยการอาชีพกาญจนาภิเษกหนองจอก
#DVE
#เรียนดีมีความสุข
#PRสอศ